
วูบ หัวใจวาย กับนักปั่น เรื่องไกลตัวจริงหรือ?
ขอบคุณมากครับ อ่านละเพลินเลย คิดตามไปด้วย คงต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม บ้างอย่างในการปั่น บ้างละครับ ขอบคุณสำหรับบทความดีๆที่แบ่งปันครับ




Niwetsuri เขียน:ขอบคุณครับ ความรู้ดีๆ แต่สงสัยเครื่องวัดการเต้นของหัวใจที่เรานักปั่นใช้กันเชื่อถือได้ขนาดไหนนะ ผมอายุ 55 ปี บางวัน HR ขึ้นไป 160 ขาก็ยังไหว หายใจก็ยังทัน แต่ต้องเบารอบขาลงเพราะเครื่องเตือนการเต้นของตัวใจนี่แหละครับ
ข้องใจเช่นกันครับ
ลักษณะคล้ายๆกัน.,ต่างตรงช่วงอายุผมน้อยกว่า 2 ปี. แต่ HR บางครั้งก็สูงขึ้นไปแตะๆ 160 ก็ผ่อนเบาลงมาเพราะเสียงเตือนครับ
อย่างไรก็ตาม บทความดี มีประโยชน์มาก
ขอบคุณครับ
อ่านแล้ว ไม่ไลค์หรอก แต่เลิฟ เลยหละ
เป็นอุทธาหรณ์ที่ดีสำหรับ สว.ขาแกร่งทุกคน
ที่ออกกำลังกายประจำ หรือ หนักประจำแค่ไหนก็ตาม โดยเฉพาะประเภทแช่โซน 4 หรือ 5 ก็ยังเฉยๆ
ถ้ามีโอกาสก็ควรจะขึ้นไปวิ่งบนสายพานให้หมอหัวใจดูบ้างก็ดีนะครับ อย่าถือว่าฉันแข็งแรงเกินคนวัยเดียวกันที่ไม่ออกกำลังกาย
การทำ exercise stress test จะเป็นสิ่งที่จำลองสภาวะจริงๆที่เราประสพอยู่ ยิ่งถ้าคุยกับหมอหัวใจด้วยว่า ปกติเราปั่นจักรยานแช่HR อยู่ใน zone 4 - 5 ประจำ เขาจะได้มั่นใจในระดับหนึ่งที่จะทดสอบเราในระดับ Metz ที่สูงมากพอ ( บางคนไม่เคยมีประวัติออกกำลังกายเลย บางครั้งจะทำถึงแค่เกณฑ์ที่หมอตั้งใจไว้เท่านั้น แต่อาจจะไม่ใช่ zone สูงสุดที่เราเคยทำได้ )
คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เริ่มผิดปกติในขณะที่ออกกำลังกายหนักๆ จะเป็นตัวบอกภาวะผิดปกติของระบบ conducting system หรือ การนำไฟฟ้าในหัวใจได้เป็นอย่างดี
ในขณะที่การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจในขณะนอนนิ่งๆนั้น อาจจะไม่สามารถบอกอะไรได้เลย
ส่วนการทำ Echocardiogram หรือ พูดสั้นๆว่า echo จะเป็นตัวบอกกายวิภาคและการทำงานของลิ้นหัวใจ การทำงานของผนังหัวใจ Flowการไหลของเลือด ซึ่งโดยรวมแล้วจะสามารถบอกถึง พยาธิสภาพของหัวใจได้ดีมากๆเช่นกัน
บางคนลงทุนเรื่องจักรยานแพงๆ แต่ไม่ลงทุนเรื่องอุปกรณ์พื้นฐานอย่าง HRM กันก็มี
สว.แถวบ้านผม อายุ 62 แล้ว ปั่นกับแกทางตรงๆยาวๆนี่ ต้องร้องขอชีวิตกันเลย นักปั่นหญิงล่าถ้วยในทีมเองก็ยังร้องจ๊ากเสมอๆเวลาปั่นด้วยกันกับแก
สิ่งที่พวกเราห่วงกันแต่แกไม่แคร์ก็คือ แกไม่เคยใช้ HRM แกมีแค่ไมล์วัดความเร็วทั้งสิ้น และเชื่อว่าที่แรงนั้น คือ ความแรงบนzone 5 โดยที่ยังแช่ค้างในโซน5 ต่อเนื่องนานๆ ระยะหลังๆเริ่มมีเหตุพิสูจน์ความเชื่อของผมก็คือ แกแผ่วลงเร็วมาก แป้กในหลายๆงาน เชื่อว่าหนักเกินไป แต่ที่สำคัญกว่านั้นคือ พักน้อยเกินไป
ชาว สว. นักปั่นทุกท่าน จงอย่าตั้งในความประมาทแห่งชีวิตนะครับ
"จักรยานอาจจะเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งชีวิต แต่ทั้งชีวิตมิได้มีแต่เพียงจักรยาน"
วลีอมตะ จากเพื่อนร่วมอุดมการณ์ท่านหนึ่งของผม
เป็นอุทธาหรณ์ที่ดีสำหรับ สว.ขาแกร่งทุกคน
ที่ออกกำลังกายประจำ หรือ หนักประจำแค่ไหนก็ตาม โดยเฉพาะประเภทแช่โซน 4 หรือ 5 ก็ยังเฉยๆ
ถ้ามีโอกาสก็ควรจะขึ้นไปวิ่งบนสายพานให้หมอหัวใจดูบ้างก็ดีนะครับ อย่าถือว่าฉันแข็งแรงเกินคนวัยเดียวกันที่ไม่ออกกำลังกาย
การทำ exercise stress test จะเป็นสิ่งที่จำลองสภาวะจริงๆที่เราประสพอยู่ ยิ่งถ้าคุยกับหมอหัวใจด้วยว่า ปกติเราปั่นจักรยานแช่HR อยู่ใน zone 4 - 5 ประจำ เขาจะได้มั่นใจในระดับหนึ่งที่จะทดสอบเราในระดับ Metz ที่สูงมากพอ ( บางคนไม่เคยมีประวัติออกกำลังกายเลย บางครั้งจะทำถึงแค่เกณฑ์ที่หมอตั้งใจไว้เท่านั้น แต่อาจจะไม่ใช่ zone สูงสุดที่เราเคยทำได้ )
คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เริ่มผิดปกติในขณะที่ออกกำลังกายหนักๆ จะเป็นตัวบอกภาวะผิดปกติของระบบ conducting system หรือ การนำไฟฟ้าในหัวใจได้เป็นอย่างดี
ในขณะที่การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจในขณะนอนนิ่งๆนั้น อาจจะไม่สามารถบอกอะไรได้เลย
ส่วนการทำ Echocardiogram หรือ พูดสั้นๆว่า echo จะเป็นตัวบอกกายวิภาคและการทำงานของลิ้นหัวใจ การทำงานของผนังหัวใจ Flowการไหลของเลือด ซึ่งโดยรวมแล้วจะสามารถบอกถึง พยาธิสภาพของหัวใจได้ดีมากๆเช่นกัน
บางคนลงทุนเรื่องจักรยานแพงๆ แต่ไม่ลงทุนเรื่องอุปกรณ์พื้นฐานอย่าง HRM กันก็มี
สว.แถวบ้านผม อายุ 62 แล้ว ปั่นกับแกทางตรงๆยาวๆนี่ ต้องร้องขอชีวิตกันเลย นักปั่นหญิงล่าถ้วยในทีมเองก็ยังร้องจ๊ากเสมอๆเวลาปั่นด้วยกันกับแก
สิ่งที่พวกเราห่วงกันแต่แกไม่แคร์ก็คือ แกไม่เคยใช้ HRM แกมีแค่ไมล์วัดความเร็วทั้งสิ้น และเชื่อว่าที่แรงนั้น คือ ความแรงบนzone 5 โดยที่ยังแช่ค้างในโซน5 ต่อเนื่องนานๆ ระยะหลังๆเริ่มมีเหตุพิสูจน์ความเชื่อของผมก็คือ แกแผ่วลงเร็วมาก แป้กในหลายๆงาน เชื่อว่าหนักเกินไป แต่ที่สำคัญกว่านั้นคือ พักน้อยเกินไป
ชาว สว. นักปั่นทุกท่าน จงอย่าตั้งในความประมาทแห่งชีวิตนะครับ
"จักรยานอาจจะเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งชีวิต แต่ทั้งชีวิตมิได้มีแต่เพียงจักรยาน"
วลีอมตะ จากเพื่อนร่วมอุดมการณ์ท่านหนึ่งของผม